Applied Linguistics
Test on Language Acquisition
1. Explain the differences & similarities of First Language Acquisition and Second Language Acquisition? Employ the linguistic hypothesis initiated by Noam Chomsky and Stephen D. Krashen.
Answer : Noam Chomsky กล่าวว่ามนุษย์มีอุปกรณ์ทางภาษา [Linguistic Acquisition Device] ติดมากับสมอง และเป็นตัวส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ภาษาเมื่อได้รับประสบการณ์ทางภาษาจากสภาพแวดล้อมที่เขาอยู่ เมื่อเด็กเรียนรู้ภาษาที่หนึ่ง
[First Language ] เด็กจึงเรียนรู้ได้อย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานของ Stephen D. Krashen เรื่องสมมติฐานระหว่างการซึมซับกับการเรียนรู้ คือการเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งเมื่อเด็กอยู่ในสภาพแวดล้อมทางภาษาและมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การสนทนาที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งก็เชื่อมโยงถึงสมมติฐานเรื่องการตรวจสอบเพื่อให้การแสดงออกทางภาษาดียิ่งขึ้น ส่วนการเรียนรู้ภาษาที่สองเนื่องจาก Noam Chomsky กล่าวว่ามนุษย์มีอุปกรณ์ทางภาษาติดตัวมาเมื่อเชื่อมโยงกับสมมติฐานระหว่างการซึมซับกับการเรียนรู้ของ Stephen Krashen การจัดสภาพการเรียนรู้ให้เป็นธรรมชาติรวมถึงระบบการเรียนรู้อย่างใส่ใจ และใช้สมมติฐานเรื่องการตรวจสอบจะมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ภาษาที่สองได้เป็นอย่างดี แต่การเรียนรู้ภาษาที่สองก็ต่างจากการเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งตรงที่ผู้เรียนต้องอาศัยการเรียนรู้อย่างใส่ใจและใช้สมมติฐานเรื่องการตรวจสอบมาเป็นส่วนช่วยอย่างมาก และผู้เรียนจะประสบผลมากหรือน้อยก็เป็นไปตามสมมติฐานตัวเอื้อ/ปิดกั้นการเรียนรู้
[First Language ] เด็กจึงเรียนรู้ได้อย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานของ Stephen D. Krashen เรื่องสมมติฐานระหว่างการซึมซับกับการเรียนรู้ คือการเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งเมื่อเด็กอยู่ในสภาพแวดล้อมทางภาษาและมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การสนทนาที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งก็เชื่อมโยงถึงสมมติฐานเรื่องการตรวจสอบเพื่อให้การแสดงออกทางภาษาดียิ่งขึ้น ส่วนการเรียนรู้ภาษาที่สองเนื่องจาก Noam Chomsky กล่าวว่ามนุษย์มีอุปกรณ์ทางภาษาติดตัวมาเมื่อเชื่อมโยงกับสมมติฐานระหว่างการซึมซับกับการเรียนรู้ของ Stephen Krashen การจัดสภาพการเรียนรู้ให้เป็นธรรมชาติรวมถึงระบบการเรียนรู้อย่างใส่ใจ และใช้สมมติฐานเรื่องการตรวจสอบจะมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ภาษาที่สองได้เป็นอย่างดี แต่การเรียนรู้ภาษาที่สองก็ต่างจากการเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งตรงที่ผู้เรียนต้องอาศัยการเรียนรู้อย่างใส่ใจและใช้สมมติฐานเรื่องการตรวจสอบมาเป็นส่วนช่วยอย่างมาก และผู้เรียนจะประสบผลมากหรือน้อยก็เป็นไปตามสมมติฐานตัวเอื้อ/ปิดกั้นการเรียนรู้
2. Explain and present the relationship of the following terms.
a Critical Age Hypothesis
Answer : การเรียนรู้ทางภาษาของมนุษย์จะอ่อนกำลังและยุติลงเมื่ออายุ 12 ปีขึ้นไป หากไม่มีประสบการณ์ทางภาษาและการเรียนรู้ในช่วงนี้ การเรียนรู้ภาษาและเกิดความรู้และการแสดงออกจะไม่สมบูรณืได้เลยเด็กจะเรียนรู้ได้ดีถ้าพวกเขาได้เรียนรู้จากที่บ้านเขาเอง โดยการเลียนแบบหรือมีพรสวรรค์ในการใช้ภาษา
b Innateness theory
Answer : เด็กแต่ละคนจะมีความสามารถในการเรียนภาษามาตั้งแต่เกิด ตามสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบๆตัวเด็กและให้กำลังใจและเสริมกำลังใจเป็นปัจจัยหนึ่งการเรียนภาษา
c Universal Grammar
Answer : Noam Chomsky เชื่อว่าสมองของมนุษย์มีกลไกที่จะจัดการด้านภาษาถึงแม้แต่ละภาษาจะมีโครงสร้างทางภาษาที่แตกต่างกัน โดยเด็กสามารถเรียนรู้ที่จะสื่อสารและเรียนรู้ที่จะแก้ไขข้อผิดพลาด
d Parameter Setting
Answer : คือการบอกคำตอบว่าทำไมเราถึงใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องตามโครงสร้างทางไวยากรณ์ได้อย่างหลากหลาย โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยการจำ แต่เป็นการเข้าใจภาษาและสื่อสารอย่างเป็นธรรมชาติ
3. Revisit the following hypotheses
a Acquired System and Learned System. How are they manifested in SLA ?
Answer : Acquired System เป็นผลการเรียนรู้โดยไม่ตั้งใจแต่เนื่องจากอยู่ใรสภาพแวดล้อมทางภาษามากขึ้นและสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้มากขึ้น การเรียนรู้แบบซึมซับคล้ายกับการเรียนรู้ที่เด็กเริ่มเรียนรู้ภาษาหนึ่ง การสนทนาเป็นธรรมชาติและมีความสำคัญ โดยที่ผู้เรียนไม่ได้ใส่ใจที่จะนำกฏเกณฑ์ทางไวยกรณ์มาจับในการพูดแต่สนใจไปที่ประโยขน์ทางเนื้อหาหรืออรรถรสทางการสื่อสารมากกว่า Learned System ระบบการเรียนรู้ในห้องเรียนหรือมีการสอนกันอย่างเป็นจริงเป็นจังและระบบจะสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการ เช่น กฏเกณฑ์ไวยกรณ์ การออกเสียงที่ถูกต้องตามหลักภาษา หรือความตั้งใจในการที่จะเอาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
b Monitor Hypothesis. Why do we need this hypothesis ? Does the first the language acquisition require this qualification ?
Answer : สมมติฐานเรื่องการตรวจสอบเป็นความเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้แบบ acquisition กับแบบ learning คือเมื่อมีการแสดงออกทางด้านภาษา ก็จะต้องมีการเรียนรู้ที่จะปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไขการใช้ภาษาให้ดียิ่งขึ้น
การเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งก็จำเป็นต้องใช้สมมติฐานนี้ เช่นเด็กเรียนรู้ที่จะสื่อสารกับผู้อื่นให้เข้าใจก็ต้องรู้จักการตรวจสอบ
การเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งก็จำเป็นต้องใช้สมมติฐานนี้ เช่นเด็กเรียนรู้ที่จะสื่อสารกับผู้อื่นให้เข้าใจก็ต้องรู้จักการตรวจสอบ
c Affective Filter Hypothesis. What do you think about this ?
Answer : การเรียนรู้ภาษาที่สองสมมติฐานนี้มีส่วนสำคัญมากเช่นกัน ถ้าหากผู้เรียนมีแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ มั่นใจในการสื่อสาร มีความอดทนในการเรียนรู้ก็จะประสบความสำเร็จ ในทางตรงกันข้ามถ้าผู้เรียนมีตัวปิดกั้นการเรียนรู้ก็จะทำให้ผู้เรียนไม่ประสบความสำเร็จ
4.Discus~ he period of language acquisition [This should include the perception and production period.] Case study or tangible examples are highly appreciated.
Answer :
การเรียนรู้ภาษาของเด็ก การออกเสียงพูดภาษาอังกฤษ และการสื่อสารภาษาอังกฤษของเด็ก
แรกเกิดเมื่อหมอตีก้นด็กแรกเกิดที่พึ่งคลอดออกมาใหม่ สิ่งเดียวที่เด็กทำเป็น คือ ร้องแงเสียงดังเ็ป็นขั้นแรกในการสื่อสารด้วยภาษาที่ใช้เสียงของชีวิตหลังจากนั้นไม่นานเมื่อเด็กหิวก็ร้องอีกครั้ง พ่อ หรือแม่ ไม่เข้าใจความหมายของเด็ก แต่ก็สันนิฐานว่าเด็กหิว, ฉี่ หรือ อึแล้วตอบสนองเด็กเป็นการกระทำต่างๆ เช่น หานมให้กิน หรือเปิดผ้าอ้อมดูระหว่างนั้นก็บ่นอะไรออกมาเป็นคำพูดสั้นๆ เช่น กินนมๆ หรือโอ๋ฉี่ๆเสียงที่เด็กได้ยินในเบื้องต้น เด็กยังไม่เข้าใจความหมายแต่จะจำน้ำเสียงที่ได้ยิน และภาพเหตุการณ์ที่ตอบสนองเสียงนั้นได้เด็กก็เริ่มเรียนรู้โดยจับคู่น้ำเสียง และภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไว้กับตัวเขา แต่เขายังไม่สามารถพูดโต้ตอบกับพ่อ หรือแม่ได้ ก่อนพูดเด็กได้ยินเสียง และเข้าใจสิ่งที่พ่อ หรือแม่พูด แล้วตอบสนองเป็นการกระทำต่างๆ ได้ แต่เขายังไม่สามารถพูดโต้ตอบกับพ่อหรือแม่ได้
เริ่มหัดพูดเด็กส่วนมากพูดคำว่าพ่อ หรือแม่ก่อน แต่หากเป็นเด็กฝรั่งก็พูดว่า DAD และMOM:ซึ่งก็หมายถึง พ่อ และแม่เช่นกัน เพราะเด็กฝรั่งไม่ได้ยินคำว่า พ่อ และแม่เด็กนำเสียงที่จดจำไว้มาพูดสื่อสาร หลังจากนั้นก็พูดคำอื่นๆ ถัดไปเสียงที่เปล่งออกมาอาจยังไม่ชัดเจน แต่นั้นคือ เขาเริ่มฝึกทักษะการพูดแล้วสามารถสื่อสารให้พ่อ และแม่เข้าใจได้ เนื่องจากทักษะการขยับปาก และลิ้นยังไม่เก่งพอ
พัฒนาให้พูดชัดขึ้นพ่อ และแม่จะพูดตัวอย่างเสียงที่ถูกต้องให้ลูกฟัง เด็กก็พยายามทำตามบางครั้งเด็กไม่อาจเปล่งเสียงให้เหมือนพ่อแม่ได้ เพราะความชำนานในการพูดยังไม่มากพอแต่เขาก็แค่ทำซ้ำอีกครั้งๆ จนทำได้
การเรียนรู้ภาษาของเด็ก การออกเสียงพูดภาษาอังกฤษ และการสื่อสารภาษาอังกฤษของเด็ก
แรกเกิดเมื่อหมอตีก้นด็กแรกเกิดที่พึ่งคลอดออกมาใหม่ สิ่งเดียวที่เด็กทำเป็น คือ ร้องแงเสียงดังเ็ป็นขั้นแรกในการสื่อสารด้วยภาษาที่ใช้เสียงของชีวิตหลังจากนั้นไม่นานเมื่อเด็กหิวก็ร้องอีกครั้ง พ่อ หรือแม่ ไม่เข้าใจความหมายของเด็ก แต่ก็สันนิฐานว่าเด็กหิว, ฉี่ หรือ อึแล้วตอบสนองเด็กเป็นการกระทำต่างๆ เช่น หานมให้กิน หรือเปิดผ้าอ้อมดูระหว่างนั้นก็บ่นอะไรออกมาเป็นคำพูดสั้นๆ เช่น กินนมๆ หรือโอ๋ฉี่ๆเสียงที่เด็กได้ยินในเบื้องต้น เด็กยังไม่เข้าใจความหมายแต่จะจำน้ำเสียงที่ได้ยิน และภาพเหตุการณ์ที่ตอบสนองเสียงนั้นได้เด็กก็เริ่มเรียนรู้โดยจับคู่น้ำเสียง และภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไว้กับตัวเขา แต่เขายังไม่สามารถพูดโต้ตอบกับพ่อ หรือแม่ได้ ก่อนพูดเด็กได้ยินเสียง และเข้าใจสิ่งที่พ่อ หรือแม่พูด แล้วตอบสนองเป็นการกระทำต่างๆ ได้ แต่เขายังไม่สามารถพูดโต้ตอบกับพ่อหรือแม่ได้
เริ่มหัดพูดเด็กส่วนมากพูดคำว่าพ่อ หรือแม่ก่อน แต่หากเป็นเด็กฝรั่งก็พูดว่า DAD และMOM:ซึ่งก็หมายถึง พ่อ และแม่เช่นกัน เพราะเด็กฝรั่งไม่ได้ยินคำว่า พ่อ และแม่เด็กนำเสียงที่จดจำไว้มาพูดสื่อสาร หลังจากนั้นก็พูดคำอื่นๆ ถัดไปเสียงที่เปล่งออกมาอาจยังไม่ชัดเจน แต่นั้นคือ เขาเริ่มฝึกทักษะการพูดแล้วสามารถสื่อสารให้พ่อ และแม่เข้าใจได้ เนื่องจากทักษะการขยับปาก และลิ้นยังไม่เก่งพอ
พัฒนาให้พูดชัดขึ้นพ่อ และแม่จะพูดตัวอย่างเสียงที่ถูกต้องให้ลูกฟัง เด็กก็พยายามทำตามบางครั้งเด็กไม่อาจเปล่งเสียงให้เหมือนพ่อแม่ได้ เพราะความชำนานในการพูดยังไม่มากพอแต่เขาก็แค่ทำซ้ำอีกครั้งๆ จนทำได้
Miss Onteera Doungtadum
47031020138
B.BD
E-mail Onteera_N@hotmail.com
No comments:
Post a Comment